ที่มา
ผดุง ิจตติสัมพันธ์พร*
เจษฎา จันทรประภา*
จากสภาพที่มักจะมีปัญหาน้ำท่วมขังรอการระบาย เมื่อมีฝนตกในพื้นที่บริเวณถนนจันทน์ถนนสาธุประดิษฐ์
ถนนเย็นจิตร และถนนเซนต์หลุยส์ 3 ึซ่งอาจจะเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำมีสภาพเป็นแอ่ง เนื่องจากปัญหาการทรุดตัวของดินอ่อน
บริเวณดินดอนลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอีกท้ังการเติบโตของเมือง ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ประกอบกับท่อระบายน้ำ
และคูคลองมีขนาดเล็ก ึจงมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอต่อการระบายน้ำ
กองระบบท่อระบายน้ำ จึงได้สำรวจและตรวจสอบสภาพพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหา พบว่า บริเวณที่ประสบปัญหา
น้ำท่วมขัง มีพื้นที่ประมาณ 3.50 ตร.กม. และมีระดับเฉลี่ย + 0.50 ม. ปัญหาการระบายน้ำเกิดจากระบบท่อระบายน้ำ
ไม่สามารถลำเลียงน้ำออกได้เนื่องจากความแตกต่างของระดับน้ำภายในและภายนอกมีน้อยมาก ทำให้ต้องใช้ระยะเวลานาน
ในการระบายน้ำ ึจงจำเป็นต้องใช้ระบบสูบน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ ดังนี
1. ก่อสร้างบ่อสูบน้ำที่บริเวณสี่แยกถนนจันทน์ตัดถนนนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อสูบน้ำจากถนนจันทน์
ลงคลองช่องนนทรี กำลังสูบรวม 5 ลบ.ม./ ิวนาที
2. ก่อสร้างประตูระบายน้ำที่คลองมะนาว บริเวณใกล้แยกถนนรัชดาภิเษกตัดถนนนราธิวาสราชนครินทร์
เพื่อสูบน้ำจากคลองมะนาวลงคลองช่องนนทรี กำลังสูบรวม 3.50 ลบ.ม./ ิวนาที
3. ก่อสร้างประตูระบายน้ำที่คูน้ำวัดปรก บริเวณถนนเจริญราษฎร์ (ถนนเหนือ - ใต้) เพื่อสูบน้ำลงคลอง
ยานนาวา กำลังสูบรวม 4 ลบ.ม./ ิวนาที
4. ถนนจันทน์ก่อสร้างท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.00 ม. และเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.80 ม. รับปริมาณน้ำฝนที่ตก
ในพื้นที่ระบายลงคลองช่องนนทรีและแม่น้ำเจ้าพระยา ตามลำดับ
5. ถนนสาธุประดิษฐ์ก่อสร้างท่อขนาด 1.20 x 1.20 ม. และเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.60 ม. ระบายน้ำจากแยกตัดถนน
จันทน์ลงสู่คลองมะนาวและบรรจบรวมกับคลองช่องนนทรีลงสู่แม่น้ำเจ้าพระย
6. ถนนเซนหลุยส์ 3 ก่อสร้างท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.00 ม. และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.80 ม.
ระบายน้ำจากแยกตัดถนนจันทน์ลงคูน้ำวัดปรกและบรรจบรวมกับคลองยานนาวาลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา
7. ถนนเย็นจิตร ก่อสร้างท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.20 ม.และขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.80 ม. ระบายน้ำจาก
แยกตัดถนนจันทน์ ลงคูน้ำวัดปรกและบรรจบรวมกับคลองยานนาวาลงสู่แม่น้ำเจ้าพระย
นอกจากน้ัน กองเครื่องจักรกล สำนักการระบายน้ำ ได้ดำเนินการจัดหาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนที่ขนาด 500
KVA และขนาด 250 KVA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ึซ่งมีเครื่อง
สูบน้ำที่อยู่ในความรับผิดชอบของกองเครื่องจักรกล ิตดต้ังตามจุดต่างๆ ประกอบด้วยเครื่องสูบน้ำไฟฟ้า จำนวน 688 เครื่อง
และ เครื่องสูบน้ำชนิดเครื่องยนต์ ีดเซล จำนวน 259 เครื่อง รวมท้ังสิ้น 947 เครื่อง
การติดต้ังเครื่องสูบน้ำตามจุดต่าง ๆ เป็นการติดต้ังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระบายน้ำหรือเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
ในจุดน้ัน ๆ ด้วยสาเหตุต่าง ๆ เช่น ระบบระบายน้ำไม่เพียงพอ พื้นที่ลุ่มต่ำ ระบบระบายน้ำไม่เป็นไปตามธรรมชาติหรือเป็น
พื้นที่ที่สำคัญด้านเศรษฐกิจ พื้นที่ชุมชนหนาแน่น ึซ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีบริเวณและพื้นทีที่สำคัญ
และเกิดปัญหาน้ำท่วมขังหลายแห่ง ึจงได้ดำเนินการติดต้ังเครื่องสูบน้ำ เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในบริเวณต่าง ๆ โดยการ
ประสานความร่วมมือและแนวทางแก้ไขกับกองระบบท่อระบายน้ำ เช่น บริเวณแยกถนนจันทน์บริเวณถนนสาธุประดิษฐ์
บริเวณถนนสวนพลูเป็นต้น นอกจากน้ันในพื้นที่อื่น ๆ ยังติดต้ังเครื่องสูบน้ำบริเวณซอยแจ้งวัฒนะ 13 และ 14 เพื่อช่วย
ระบายน้ำในซอยแจ้งวัฒนะ 14
ตดต้ังเครื่องสูบน้ำบริเวณถนนบางขุนเทียนชายทะเล ต้ังแต่คลองสนามชัย ึถงคลองเกาะโพธิ์ ิตดต้ังเครื่องสูบน้ำ
เครื่องยนต์ ีดเซล จำนวน 10 เครื่อง เพื่อช่วยระบายน้ำออกจากพื้นผิวถนนบางขุนเทียนเวลาที่ฝนตกหรือน้ำทะเลหนุนสูง
จากรายงานปัญหาน้ำท่วมขังของปี2549 หลังจากงานก่อสร้างระบบระบายน้ำ และการติดต้ังเครื่องสูบน้ำแล้วเสร็จ
ในเดือนเมษายน พบว่า สามารถบรรเทาปัญหาน้ำท่วมขังในบริเวณดังกล่าวได้เป็นอย่าง